Page 147 - E-BOOK
P. 147

ลักษณะของหน้าตัดดิน (Profile features)


                       กลุ่มดิน Solonetz ดินบนมีสีคลำ้าและมีปริมาณฮิวมัสสูง เนื่องจากเกลือทำาให้เกิดการฟุ้งกระจายของ

              เม็ดดิน ส่งผลให้ดินบนมีปริมาณดินเหนียวน้อยกว่าชั้นดินล่าง natric ซึ่งมีโครงสร้างเป็นแบบแท่งหัวมน (columnar)
              หรือแบบแท่งหัวเหลี่ยม (prismatic structure) เป็นดินที่มีพัฒนาการดี อาจพบวัสดุ albic บริเวณด้านล่างของ

              ชั้นซึมซะ (eluviation horizon) และอาจจะพบชั้นวินิจฉัย calcic หรือ gypsic อยู่ใต้ชั้นวินิจฉัย natric


              สภาพแวดล้อมและภูมิสัณฐาน (Environment and landforms)


                       ความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์กลุ่มดิน Solonetz ทางการเกษตร ถูกกำาหนดด้วยสมบัติและความหนา

              ของหน้าดิน ดินบนที่มีปริมาณฮิวมัสสูง (ดินมีความหนา > 25 เซนติเมตร) มีความจำาเป็นต่อการผลิตพืช
              อย่างไรก็ตามกลุ่มดินนี้ส่วนใหญ่มีชั้นผิวดินบาง และมักจะเกิดการสูญเสียหน้าดินได้ง่าย



              การใช้ประโยชน์และการจัดการ (Use and management)


                       กลุ่มดิน Solonetz เกิดในพื้นที่ที่มีสภาพภูมิอากาศแบบแห้งแล้งและกึ่งแห้งแล้ง พบมากในบริเวณส่วนตำ่า
              ของพื้นที่ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับกลุ่มดิน Solonchaks ที่ล้อมรอบด้วยทะเลสาบนำ้าเค็ม พืชพรรณธรรมชาติส่วนใหญ่

              เป็นพืชทนเค็มและหญ้า
















































                                                                                                       145
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152