Page 98 - E-BOOK
P. 98
ชุดดินตัวแทนของ Kastanozems ในประเทศไทย
Calcic Kastanozems
Calcic Kastanozems เป็นกลุ่มดินที่พบ ลักษณะและสมบัติดิน เป็นดินตื้นถึงชั้นปูนมาร์ลที่พบ
ชั้นคาร์บอเนตทุติยภูมิที่กระจายตัวอยู่ในเนื้อดิน ภายใน 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินบนเป็นดินร่วนปน
หรือในรูปของอนุภาค calcite ขนาดเล็ก (<1 มิลลิเมตร) ดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแป้ง สีดำา สีเทาเข้มมาก
ส่วนใหญ่สะสมบริเวณใต้ชั้นผิวดินและในวัถตุต้นกำาเนิดดิน สีนำ้าตาลปนเทาเข้มมากหรือสีนำ้าตาลเข้มมาก ค่าปฏิกิริยาดิน
ที่ความลึกน้อยกว่าหรือเท่ากับ 100 เซนติเมตร เป็นกลางถึงเป็นด่างปานกลาง (pH 7.0-8.0) ดินล่างเป็น
จากผิวดิน ดินร่วนปนดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง
ชุดดินตัวแทนของกลุ่มดินนี้ เช่น ชุดดินตาคลี และมีเม็ดปูนปน สีนำ้าตาลหรือสีนำ้าตาลเข้ม และมีสีขาว
(Takhli series: Tk) เกิดจากตะกอนนำ้าพาทับถมอยู่บน ของผงปูนทุติยภูมิหรือปูนมาร์ล ค่าปฏิกิริยาดินเป็นด่าง
ชั้นปูนมาร์ล บริเวณเนินตะกอนรูปพัด สภาพพื้นที่เป็น ปานกลาง (pH 8.0) ใต้ชั้นดินล่างลงไปเป็นชั้นปูนมาร์ล
ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน สีขาวทั้งที่เป็นเม็ดและที่เชื่อมต่อกันหนาแน่น ข้อจำากัด
3-12% ดินมีการระบายนำ้าดี การไหลบ่าของนำ้าบนผิวดิน การใช้ประโยชน์ ดินตื้นถึงชั้นปูนมาร์ล ซึ่งจะมีผลกระทบ
ช้าถึงปานกลาง การซึมผ่านได้ของนำ้าปานกลาง ทางกายภาพและทางเคมีต่อพืช
พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศต่อกับภาคกลาง
96