กลุ่มชุดดินที่ 62 |
ชุดดินในกลุ่ม |
|
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (SC
: slope complex) |
ลักษณะเด่น |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการศึกษา สำรวจและจำแนกดิน
เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ซึ่งถือว่ายากต่อการจัดการดูแลรักษาสำหรับการเกษตร
|
สมบัติของดิน |
กลุ่มดินนี้ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกว่าร้อยละ
35 ลักษณะและสมบัติของดินที่พบไม่แน่นอน มีทั้งดินลึกและดินตื้น
ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของหินต้นกำเนิดในบริเวณนั้น
มักมีเศษหิน ก้อนหินหรือพื้นโผล่กระจัดกระจายทั่วไป ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ประเภทต่างๆ
เช่น ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังหรือป่าดงดิบชื้น หลายแห่งมีการทำไร่เลื่อนลอยโดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษ์ดินและน้ำ
ซึ่งเป็นผลทำให้เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน จนบางแห่งเหลือแต่หินโผล่ |
|
|
อินทรียวัตถุ
(เปอร์เซ็นต์) |
ฟอสฟอรัส
(ส่วนต่อล้านส่วน) |
โพแทสเซียม
(ส่วนต่อล้านส่วน) |
ความเป็นกรดเป็นด่าง
(pH) |
ดินบน |
- |
- |
- |
- |
ดินล่าง |
- |
- |
- |
- |
*เปอร์เซ็นต์ค่าไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุ x 0.05 |
ความอุดมสมบูรณ์
ตามธรรมชาติ |
|
การใช้ประโยชน์ |
กลุ่มดินนี้ไม่ควรนำมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
เนื่องจากมีปัญหาหลายประการที่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ ควรสงวนไว้เป็นป่าตามธรรมชาติเพื่อรักษาแหล่งต้นน้ำลำธาร |
ปัญหา |
มีความลาดชันสูงมาก ในพื้นที่ทำการเกษตรจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินอย่างรุนแรง
ขาดแคลนน้ำและบางพื้นที่อาจพบชั้นหินพื้นหรือเศษหินกระจัดกระจายอยู่บริเวณหน้าดิน |
ความเหมาะสมด้านการเกษตร |
พืช |
ชั้น
ความเหมาะสม |
คำอธิบาย |
ข้าว |
3t |
ไม่เหมาะสม มีข้อจำกัดเรื่องสภาพพื้นที่ |
อ้อยโรงงาน |
3t |
ไม่เหมาะสม มีข้อจำกัดเรื่องสภาพพื้นที่ |
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ |
3t |
ไม่เหมาะสม มีข้อจำกัดเรื่องสภาพพื้นที่ |
มันสำปะหลัง |
3t |
ไม่เหมาะสม มีข้อจำกัดเรื่องสภาพพื้นที่ |
สับปะรด |
3t |
ไม่เหมาะสม มีข้อจำกัดเรื่องสภาพพื้นที่ |
ยางพารา |
3t |
ไม่เหมาะสม มีข้อจำกัดเรื่องสภาพพื้นที่ |
ปาล์มน้ำมัน |
3t |
ไม่เหมาะสม มีข้อจำกัดเรื่องสภาพพื้นที่ |
ลำไย | 3t |
ไม่เหมาะสม มีข้อจำกัดเรื่องสภาพพื้นที่ |
|
แนวทางการจัดการดิน
เพื่อการเพาะปลูก |
ควรปล่อยไว้ให้เป็นป่าตามธรรมชาติ
เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า แหล่งต้นน้ำลำธาร ในกรณีที่จำเป็นต้องนำมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
จำเป็นต้องมีการศึกษาดินก่อน เพื่อให้ทราบถึงความเหมาะสมของดินสำหรับการปลูกพืช
โดยมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในเชิงอนุรักษ์หรือวนเกษตร
ในบริเวณพื้นที่ที่เป็นดินลึกและสามารถพัฒนาแหล่งน้ำได้
มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ เช่น ปลูกพืชคลุมดิน ทำแนวรั้วหญ้าแฝกและขุดหลุมปลูกเฉพาะต้น
โดยไม่มีการทำลายไม้พื้นล่าง สำหรับในพื้นที่ที่ไม่มีศักยภาพทางการเกษตร
ควรรักษาไว้ให้เป็นสวนป่า สร้างสวนป่าหรือใช้ปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว |
|
ความเหมาะสมของดิน
เพื่อใช้ประโยชน์ด้านวิศวกรรม |
ประเภทการใช้ |
ชั้นความเหมาะสม |
คำอธิบาย |
วัสดุหน้าดิน |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
แหล่งทรายและกรวด |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
ดินถมหรือดินคันทาง |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
เส้นทาง แนวถนน |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
บ่อขุด |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
คั้นกั้นน้ำ |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
ระบบบ่อเกรอะ |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
โรงงานอุตสาหกรรม
ขนาดเล็ก |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
อาคารต่ำๆ |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
การใช้ยานพาหนะ
ในช่วงฤดูฝน |
SC |
พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า
35 เปอร์เซนต์ |
|
ปริมาณน้ำที่พืชใช้ประโยชน์ได้
(Available Water Capacity : AWC) |
ไม่มีข้อมูล |